ข้ามไปเนื้อหา

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2559–2560

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2559–2560
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว15 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
ระบบสุดท้ายสลายตัว15 มีนาคม พ.ศ. 2560
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อเอนาโว
 • ลมแรงสูงสุด205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด932 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
ความแปรปรวนทั้งหมด7 ลูกทางการ 1 ลูกไม่เป็นทางการ
พายุดีเปรสชันทั้งหมด7 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด5 ลูก
พายุไซโคลนเขตร้อน3 ลูก
พายุไซโคลนรุนแรง1 ลูก
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด379 คน
ความเสียหายทั้งหมด236.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2016)
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก–ใต้
2557–58, 2558–59, 2559–60, 2560–61, 2561–62

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2559–2560 เป็นฤดูกาลในอดีตของวัฏจักรรายปีของการก่อตัวพายุหมุนเขตร้อนและพายุหมุนกึ่งเขตร้อน โดยจะเริ่มต้นในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 และไปสิ้นสุดลงในวันที่ 30 เมษายน 2560 โดยมีข้อยกเว้นสำหรับมอริเชียสและเซเชลส์ ซึ่งจะสิ้นสุดลงในวันที่ 15 พฤษภาคม 2560 วันที่เหล่านี้เป็นช่วงเวลาตามธรรมเนียมนิยมซึ่งเป็นช่วงจำกัดของแต่ละปี ซึ่งมีพายุหมุนเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนก่อตัวภายในแอ่ง ภายในทางตะวันตกของเส้น 90 °ตะวันออก และทางใต้ของเส้นศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในแอ่งนี้จะได้รับการเฝ้าระวังโดยศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาค (Regional Specialized Meteorological Center) ในเรอูว์นียง

ภาพรวมฤดูกาล

[แก้]
ความรุนแรงพายุหมุนเขตร้อนภายในแอ่งนี้
  •   บริเวณความกดอากาศต่ำ/หย่อมความกดอากาศต่ำ
  •   พายุดีเปรสชันเขตร้อน/พายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อน
  •   พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง
  •   พายุโซนร้อนกำลังแรง
  •   พายุไซโคลน
  •   พายุไซโคลนรุนแรง
  •   พายุไซโคลนรุนแรงมาก

พายุ

[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางอาเบลา

[แก้]
พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 16 – 19 กรกฎาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)
  • วันที่ 16 กรกฎาคม หย่อมความกดอากาศต่ำก่อตัวขึ้นทางตะวันตกเฉียงใต้ของดีเอโกการ์ซีอา นับเป็นการก่อตัวที่ปรากฏขึ้นเป็นสี่ของพายุหมุนเขตร้อนที่มีอยู่ในมหาสมุทรอินเดียด้านตะวันตกเฉียงใต้ในเดือนกรกฎาคม โดยครั้งแรกคือพายุโซนร้อนโอเดตเตในฤดู 2514 ครั้งที่สองคือพายุดีเปรสชันเขตร้อน เอ็ม2 ในฤดู 2540 และพายุไซโคลน 01ยู เมื่อเดือนกรกฎาคม 2550[1]


พายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อนแบรนส์บี

[แก้]
พายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อน (MFR)
ระยะเวลา 2 – 6 ตุลาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
988 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.18 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 03

[แก้]
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (MFR)
ระยะเวลา 27 – 28 มกราคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนคาร์โลส

[แก้]
พายุไซโคลนเขตร้อน (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 10 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนดีเนโอ

[แก้]
พายุไซโคลนเขตร้อน (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 13 – 17 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงเอนาโว

[แก้]
พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 9 มีนาคม
ความรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
932 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.52 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางเฟร์นันโด

[แก้]
พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 6 – 15 มีนาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ

[แก้]

ภายในมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พายุดีเปรสชันเขตร้อนและพายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อนจะถูกประมาณว่ามีความเร็วลมเแลี่ยภายใน 10 นาทีที่ 65 กม./ชม. โดยศูนย์กลางอุตุนิยมวิทยากำหนดขอบเขตส่วนภูมิภาคในเกาะลาเรอูว์นียง ฝรั่งเศส (RSMC ลาเรอูว์นียง) จะเป็นผู้กำหนดชื่อกับพายุ อย่างไรก็ตาม ศูนย์เฝ้าระวังพายุหมุนเขตร้อนภูมิภาคย่อยในมอริเชียสและมาร์ดากัสการ์จะเป็นผู้ใช้ชื่อ โดยศูนย์เฝ้าระวังพายุหมุนเขตร้อนภูมิภาคย่อยในมอริเชียสจะใช้ชื่อกับพายุ เมื่อมันทวีกำลังแรงเป็นพายุโซนร้อนกำลังปานกลาง ในระหว่าง 55 องศาตะวันออก ถึง 90 องศาตะวันออก ถ้าพายุหมุนทวีกำลังแรงเป็นพายุโซนร้อนกำลังปานกลางในระหว่าง 30 องศาตะวันออก ถึง 55 องศาตะวันออกนั้นจะได้รับชื่อโดยศูนย์ย่อยในมาร์ดากัสการ์ ชื่อใหม่จะถูกใช้ในทุก ๆ ปี และแต่ละชื่อโดยปกติจะใช้เพียงครั้งเดียว ดังนั้นในปัจจุบันจึงไม่มีการถอดชื่อพายุ อย่างไรก็ตาม ชื่อที่ยังไม่ได้ใช้อาจถูกนำกลับมาใช้ไหม่ในฤดูกาลในอนาคต[2]

  • อาเบลา
  • แบรนส์บี
  • คาร์โลส
  • ดีเนโอ
  • เอนาโว
  • เฟร์นันโด
  • กาเบกีเล (ยังไม่ใช้)
  • เฮโรล์ด (ยังไม่ใช้)
  • อีรนโด (ยังไม่ใช้)
  • เจรูโต (ยังไม่ใช้)
  • คุนได (ยังไม่ใช้)
  • ลีเซโบ (ยังไม่ใช้)
  • มิเชล (ยังไม่ใช้)
  • นูซฮา (ยังไม่ใช้)
  • โอลิเวีย (ยังไม่ใช้)
  • โพเกรา (ยังไม่ใช้)
  • ควินซี (ยังไม่ใช้)
  • เรบาโอเน (ยังไม่ใช้)
  • ซาลามา (ยังไม่ใช้)
  • ทริสตัง (ยังไม่ใช้)
  • อูร์ซูลา (ยังไม่ใช้)
  • ไวโอเลต (ยังไม่ใช้)
  • วิลสัน (ยังไม่ใช้)
  • ซีลา (ยังไม่ใช้)
  • เยเกลา (ยังไม่ใช้)
  • ซาอีนา (ยังไม่ใช้)

ผลกระทบ

[แก้]

ตารางนี้จะแสดงพายุหมุนเขตร้อนและพายุหมุนกึ่งเขตร้อนทั้งหมดในช่วงฤดู 2559–2560 ของมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ ซึ่งจะระบุข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความรุนแรง, ช่วงเวลา, ชื่อ, พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ, ซึ่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากศูนย์กลางอุตุนิยมวิทยากำหนดขอบเขตส่วนภูมิภาค (RSMC) ลาเรอูว์นียง, จำนวนผู้เสียชีวิต และผลกระทบ ซึ่งมาจากรายงาน ข่าว หรือหน่วยงานจัดการด้านภัยพิบัติแห่งชาติที่เกี่ยวข้อง และผลกระทบจะเป็นค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ ค.ศ. 2016 หรือ 2017 (พ.ศ. 2559 หรือ 2560)

ชื่อพายุ ช่วงวันที่ ระดับความรุนแรง
ขณะมีกำลังสูงสุด
ความเร็วลมต่อเนื่อง
(เฉลี่ย 10 นาที)
ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ความเสียหาย
(USD)
ผู้เสียชีวิต อ้างอิง
อาเบลา 16 – 19 กรกฎาคม พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) 998 hPa (29.47 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
แบรนส์บี 2 – 6 ตุลาคม พายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อน 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) 987 hPa (29.15 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
03 27 – 28 มกราคม พายุดีเปรสชัน 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) 1005 hPa (29.68 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
คาร์โลส 2 – 10 กุมภาพันธ์ พายุไซโคลน 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) 965 hPa (28.50 นิ้วปรอท) เรอูว์นียง, มอริเชียส ไม่มี ไม่มี
ดีเนโอ February 13 – 17 พายุไซโคลน 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) 955 hPa (28.20 นิ้วปรอท) โมซัมบิก, แอฟริกาใต้, ซิมบับเว, บอตสวานา, มาลาวี &0000000216500000000000217 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 280 [3][4][5]
เอนาโว 2 – 9 มีนาคม พายุไซโคลนรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) 932 hPa (27.52 นิ้วปรอท) มาดากัสการ์, เรอูว์นียง &000000002000000000000020 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 99 [6][7][5]
เฟร์นันโด 6 – 14 มีนาคม พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง 70 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) 992 hPa (29.29 นิ้วปรอท) เกาะโรดรีก ไม่มี ไม่มี
สรุปฤดูกาล
7 ลูก 16 กรกฎาคม – 15 มีนาคม   205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) 932 hPa (27.52 นิ้วปรอท)   236.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 379


ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Soulan, Alain; Remois, Paul; Caroff, Philippe; Le Bris, Gerard (1997). 1996-1997 Tropical Cyclone Season (PDF). Météo-France. p. 69. สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2559. {{cite book}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. Regional Association I Tropical Cyclone Committee (2010). "Tropical Cyclone Operational Plan for the South-West Indian Ocean" (PDF). World Meteorological Organization. สืบค้นเมื่อ 2012-06-07.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ TimesLive217
  4. "Flash Appeal: Emergency Response Plan for Mozambique - Cyclone Dineo" (PDF). ReliefWeb. UN Country Team in Mozambique. February 28, 2017. สืบค้นเมื่อ March 1, 2017.
  5. 5.0 5.1 "Global Catastrophe Recap March 2017" (PDF). Aon Benfield. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-04-17. สืบค้นเมื่อ 8 April 2017.
  6. "Madagascar: Cyclone Enawo Situation Report No. 3 (17 March 2017)". Relief Web. UN Office for the Coordination of Humanitarian Affairs. สืบค้นเมื่อ 18 March 2017.
  7. "Madagascar cyclone death toll rises to 78". Channel NewsAsia. Agence France-Presse. March 15, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-03-17. สืบค้นเมื่อ March 15, 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]